หน่วยการวัดปริมาตรและน้ำหนักเป็น ลูกบาศก์หน่วย
หรือ ตามหน่วยของปริมาตรและน้ำหนักที่ใช้ในสถานการณ์นั้น ๆ
การเปลี่ยนหน่วยการวัดปริมาตรและน้ำหนักที่อยู่ในระบบหรือมาตราเดียวกัน
สามารถคำนวณได้จากการเปลี่ยนหน่วยการวัดปริมาตรและน้ำหนักตามความสัมพันธ์ของหน่วยในระบบหรือมาตรานั้น
การเปรียบเทียบปริมาตรและน้ำหนักที่มีหน่วยการวัดปริมาตรที่ต่างระบบหรือต่างมาตรา
จำเป็นต้องทำให้มีหน่วยการวัดปริมาตรและน้ำหนักให้เป็นอย่างเดียวกันก่อน![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjWCIKFnWt7w2bZTHjE7-d1Ew3bwrp6-jyAQop3BZu7ZrPn764Lyfz_Cv9ynYDDYcH2X5RVSasBoXiphHTLqhh62qbXtQXzV_x_A90dpZGuW82S1pUfNypEQl07E3Wlu_Iwkz6RkkvP1Hk/s400/T1.jpg)
การเปลี่ยนหน่วยการวัดปริมาตรและน้ำหนักในระบบหรือมาตราเดียวกัน
สามารถคำนวณได้จากการเปลี่ยนหน่วยการวัดความยาวตามความสัมพันธ์ของหน่วยในระบบหรือมาตรานั้น
ซึ่งมีหลักการดังนี้ 1. การเปลี่ยนจากหน่วยใหญ่เป็นหน่วยย่อย ใช้วิธีการคูณ
2. การเปลี่ยนจากหน่วยย่อยเป็นหน่วยใหญ่ ใช้วิธีการหาร
ตัวอย่าง
1.
นิดดื่มน้ำวันละ 2 แก้ว แก้วละ 8 ออนซ์
ในแต่ละวันนิดต้องดื่มน้ำกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
เนื่องจาก
8 ออนซ์ เท่ากับ 1 ถ้วยตวงนม 2 แก้ว แก้วละ 8 ออนซ์ คิดเป็นนม 3 ถ้วยตวง
เนื่องจาก 1 ถ้วยตวง เท่ากับ 240 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ดังนั้น นม 2 ถ้วยตวง คิดเป็นนม 2 x 240 = 480 ลูกบาศก์เซนติเมตร
นั่นคือ นิดดื่มนมวันละ 480 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ตอบ
480 ลูกบาศก์เซนติเมตร
http://www.kr.ac.th/ebook2/apichat/03.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น